วันศุกร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2555

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์


      ความสำคัญ
      การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เกิดจากการเผ่าไหมจากสิ่งต่างๆเช่าการเผาไหมจากโรงงานอุตสาหกรรม ในปัจจุบันประเทศรามีการมุ่งพัฒนาประเทศให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองเลยมีการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม เลยเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์ นอกจากมีโรงงานอุตสาหกรรมแล้วยังมีสาเหตุอื่นๆอีกมากมาย เช่น การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การเพิ่มขึ้นของที่อยู่อาศัยยังและสิ่งอำนายความสะดวกสบายของมนุษย์ล้วนแล้วแต่ทำให้เกิดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์ไว้ทั้งสิ้นจึงส่งผลให้เกิดภาวะโลกร้อน จากการสังเกตว่าตั้งแต่อดีตมนุษย์มีความเป็นอยู่แบบพึ่งพาอาศัยกัน ไม่มีความสะดวกสบายเหมือนทุกวันนี้แต่ทำไมไม่มีปัญหาอะไรเลย แต่ในปัจจุบันมีครบทุกสิ่งทุกอยางทั้งเรื่องของความสะดวกสบายและเรื่องของเศรษฐกิจแต่ทำไมจึงเกิดปัญหามากถึงเพียงนี้เคยสงสัยกันหรือไม่ว่าเกิดอะไรขึ้นกับโลกของเราในสภาพทุกวันนี้ จะเห็นได้ชัดเจนมากว่าโลกเราร้อนขึ้นมากๆ เพาะทุกคนไม่ได้เห็นความสำคัญของทรัพยากรเลยไม่มีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแล้วยังทำลายอีกมีการตัดต้นไม้ทำลายป่ากันเป็นจำนานมากเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโลกร้อน จึงมีผลกระทบตามมา ทั้งสภาพอากาศที่แปลรปรวนและเกิดภัยธรรมชาติขึ้น เช่นภัยแล้ง ภัยน้ำท่วมเป็นการ แสดงให้เห็นว่าเกิดภาวะโลกร้อนและล้วนเป็นสาเหตุมาจากการกระทำของมนุษย์ทั้งสิ้น
สาเหตุการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในประเทศไทย
       ประเทศไทยเป็นประเทศที่กำลังพัฒนาปล่อยทางด้านเศรษฐกิจจึงยกเอาการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมเป็นหลักในการพัฒนาประเทศโดยไม่ได้คำนึงถึงผลที่จะตามมาที่หลัง ในปัจจุบันประเทศไทยมีโรงงานอุตสาหกรรมเป็นจำนวนมากจึงเป็นสาเหตุหลักของการเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ยิ่งอยู่ในเมืองหลวงที่กรุงเทพมหานครซึ้ง เป็นศูนย์กลางในการค้าและการบริการและยังเป็นแหล่งเศรษฐกิจของประเทศมีการนำเข้าและการส่งออกมากมายและยังเป็นแหล่งที่มีประชากรหนาแน่นมากมีทั้งคนในกรุงเทพมีทั้งคนที่อยู่ภาคอีสานถือว่าเป็นแหล่งที่มีคนทุกมากที่สุดและยังมีชาวต่างชาติที่มาทำมาหากินและมาเที่ยวถือว่า เป็นศูนย์รวมที่มีครบทุกอย่างจึงเป็นแหล่งสำคัญที่มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุด

ตารางการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ พ.ศ. 2544-2552 (หน่วย 1000ตัน)


แผนภูมิการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในปัจจุบัน





      จากกราฟแสดงให้เห็นว่าแหล่งการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในปี พ.2552 มีการปล่อยก๊าซจำนวน 196022 ตัน เฉลี่ยเป็น การคมนาคม 27% ไฟฟ้า 45% อุตสาหกรรม 24% ที่อยู่อาศัย 4% จะเห็นได้ว่าโรงงานไฟฟ้าจะมีการปล่อยก๊าซมากที่สุด ซึ้งถือว่าเป็นแห่งอำนายความสะดวกของมนุษย์และเป็นสาเหตุของการเกิดโลกร้อน

 สภาวะโลกร้อนที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์
        
            มนุษย์เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโลกร้อนสิ่งแลกเลยคือสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวของมนุษย์คือ มนุษย์ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลืองไม่รู้จักใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดมีการเปิดน้ำทิ้งไว้ เปิดไฟทิ้งไว้เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโลกร้อน และในการใช้ชีวิตประจำวันอย่างมักง่าย เช่น เปิดเครื่องปรับอากาศทิ้งไว้ มนุษย์ยังมีการใช้เครื่องอำนวยความสะดวกสบายโดยที่ไม่จำเป็นนอกจากนี้แล้ว มนุษย์ ยังมีการใช้สารเคมีในการผลิตในการเพาะปลูกเพื่อที่จะได้ผลผลิตที่เป็นจำนวนมากและไม่มีการปลูกพืชทดแทนทำให้ไม่มีสิ่งที่ดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน ปัจจุบันมนุษย์ไม่ได้เห็นความสำคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเลย แล้วยังทำลายอีกสาเหตุที่ทำให้เกิดโลกร้อนจึงเป็นการกระทำของมนุษย์ทั้งสิ้น
แผนภูมิการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์ในปี 2550-2552


      ข้อมูลจากกราฟในปี 2550 – 2552 ไม่ได้มีการลดลงของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เลยมีแต่การเพิ่มขึ้นจะเห็นได้ว่า ปี พ.2550 โรงงานไฟฟ้ามีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 82,087 ตัน ภาคการคมนาคมขนส่งมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 54,554 ตัน ภาคอุตสาหกรรมมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 42,318 ตัน และภาคยานพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 5,849 ตันปี พ.2551โรงงานไฟฟ้ามีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 83,370 ตัน ภาคการคมนาคมขนส่งมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 52,379 ตัน ภาคอุตสาหกรรมมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 45,023 ตัน และภาคย่านพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์ 6,389 ตัน ปี พ.2552 โรงงานไฟฟ้ามีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 83,410  ตัน ภาคการคมนาคมขนส่งมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 50,196 ตัน ภาคอุตสาหกรรมมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 45,149  ตัน และภาคย่านพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 6,895 ตัน สรุปได้ว่าในปี พ.2550-2552 โรงงานไฟฟ้าเป็นแหล่งที่มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุดลองลงมาเป็นภาคการขนส่งลองลงมาเป็นภาคอุตสาหกรรมและย่านที่อยู่อาศัยมีการปล่อยก๊าซน้อยที่สุด              

            การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของโลกและภูมิภาค
        ประเทศไทยมีการปล่อยก๊าซที่มากที่สุดคือ เป็นประเทศที่มีความเจริญรุ่งเรื่องแล้ว มีประเทศ สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น  ประเทศพวกนี้เป็นประเทศที่มีการใช้ทรัพยากร อย่างฟุ่มเฟือยไม่ได้เห็นความสำคัญกับทรัพยากรจึงเป็นสาเหตุที่มีการปล่อยก๊าซมากที่มากที่สุดและในส่วนของภูมิภาคก็มีการปล่อยก๊าซมากเหมือนกันเพราะเริ่มมีการขยายโรงงานอุตสาหกรรมมาอยู่ในภูมิภาคก็เป็นสาเหตุของการปล่อยก๊าซเหมือนกัน

    ข้อมูลจากกราฟจะเห็นได้ว่าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีการเพิ่มขึ้นของการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์ขึ้นทุกปี เริ่มตังแต่ พ.2544 มี การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์ 154,535 ตัน พ.2545 มี การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์ 163,039 ตัน  พ.2546 มี การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์ 17,1370 ตัน        พ.2547 มี การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์ 186,716 ตัน พ.2548 มี การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์ 191,158 ตัน  พ.2549 มี การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์ 195,847 ตัน  พ.2550 มี การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์ 195,847 ตัน  ตัน  พ.2551 มี การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์198,145 ตัน พ.2552 มี การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซน์196,022 ตัน สรุปได้ว่าตั้งแต่ปี พ.2544-2552 มีการเพิ่มขึ้งของการปล่อยก๊าซอยู่ตลอดทุกปี

                                           

สรุป

การปล่อยก๊าซคาบอนไดออกไซน์เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโลกร้อน ทั้งนี้ก็เป็นการกระทำของมนุษย์ทั้งนั้นไม่ว่าจะเป็นโลกร้อนทำให้เกิดผลกระทบมากมาย ทั้งส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสัตว์และอื่นๆอีกมากมาย เช่น ทำให้สภาพอากาศมีความรุนแรงขึ้น เช่น ภัยแล้ง ไฟป่า น้ำท่วม ทำให้มีความเดือดร้อนไปตามๆกันและถ้ามนุษย์ยังละเลยยังไม่เห็นความสำคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอยู่โลกก็จะร้อนขึ้นเรื่อยๆ และจะมีผลกระทบที่มีความรุนแรงมากกว่านี้จนถึงขั้นไม่มีโลกจะอยู่ก็เป็นไปได้ จากนี้ไปจงช่วยกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติไว้ แล้วหันมาทำอาชีพต่างๆอย่าพอเพียง จะเห็นได้ว่าไม่มีใครช่วยโลกเราได้นอกจากตัวมนุษย์เอง

                                
อ้างอิง
ที่มา: Department of Environment of Bangkok Metropolitan Administration, 2008
ที่มา: Bangkok Metropolitan Administration, 2007
ที่มา: CDIAC, 2008
ที่มา: Energy Policy and Planning office, Ministry of Energy, 2006






1 ความคิดเห็น: